หมวดหลักสูตร
Click ที่หลักสูตรลงทะเบียนได้ทันที )
ปฏิทินรายเดือน 2567
จัดซื้อ/นำเข้า-ส่งออก
(PS / PS - Import &Export)
ปฏิทินรายเดือน 2567
ระบบคุณภาพ-ผลิตภาพ-บุคคล
(QS-PI-HR)
ตารางอบรมปี 2567 (Download/Print**)
แผนที่โรงแรม (ใกล้ BTS)
ประวัติวิทยากร (บางส่วน)
แบบฟอร์มขอใบเสนอราคา
📢📣 รับสมัครพนักงาน
📌พนักงานขาย และการตลาด​ (Partime)​ 1​ ตำแหน่ง
- ​มีประสบการณ์การทำงาน 
หรือรางวัลผลงาน​ มีconnection
ที่ดี มีรางวัลการันตี

สนใจติดต่อ ☎️/
092-835-2953,092-775-5853
ผู้ชม
วันนี้ 249
เมื่อวาน 227
ทั้งหมด 288,290
ชมหน้าอื่นๆ
วันนี้ 464
เมื่อวาน 242
ทั้งหมด 327,291
เทคนิคการควบคุมกระบวนการทางสถิติ (Statistical Process Control Technique )

บทความใหม่  เทคนิคการควบคุมกระบวนการทางสถิติ  (Statistical Process Control Technique )

  

เขียนโดย : คุณรมณีย์ กองแก้ว บริษัท เอสเอสอาร์ ควอลิตี้ เซ็นเตอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด   วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม.. 2565 ( Mobile : 092-835 2953, 092-775 5853 ) Email:  ssr.qualitycenter@gmail.com  Web:    www.ssrqualitycenter.com

สวัสดีค่ะ

วันนี้ตรงกับวันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ตรงกับวันหยุดของหลายๆท่านนะคะ สถานการณ์ Covid-19 ช่วงนี้ก็เป็นช่วงที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษโดยเฉพาะที่น่าเป็นห่วงมากๆ ก็จะเป็น ผู้สูงอายุ คนท้อง และผู้ป่วย 7 กลุ่มโรค ซึ่งเมื่อติดแล้วอาการจะมีมากกว่าคนปกติ รวมถึงสถานการณ์ขณะนี้ หากเด็กหรือคนทำงานติดเชื้อจะนำเชื้อไปให้ผู้สูงอายุที่บ้าน ทำให้อัตราการครองเตียงมากขึ้น เป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก สำหรับบทความเดือนนี้ เราก็จะมาพูดถึงสิ่งที่พอจะควบคุมได้บ้างเทคนิคการควบคุมกระบวนการทางสถิติ(Statistical Process Control Technique)” การควบคุมกระบวนการทางสถิติเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ลูกค้า หรือบริษัทฯต้องการ แบ่งความผันแปรออกเป็น 2 ประเภท คือ

 แบบธรรมชาติ ( Natural Variation) เป็นความผันแปรที่มาจากปัจจัยที่แก้ไขโดยการมอบหมายไม่ได้ มักเกิดขึ้นโดยบังเอิญอยู่เสมอ เป็นเรื่องปกติที่ต้องแก้ไขโดยใช้ Cost สูง เพราะฉะนั้นสาเหตุของความผันแปรจะแก้ไขโดยผู้บริหาร (System Action) ปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มีประมาณ 85% ของปัญหาในกระบวนการ

แบบไม่ธรรมชาติ ( Unnatural Variation)  โรงงานในประเทศมักเป็นแบบนี้เป็นความผันแปรที่มีปัจจัยที่สามารถแก้ไขได้ หลีกเลี่ยงได้ เป็นเรื่องที่ไม่ปกติ ที่ไม่ได้ควบคุมให้ดี (Out of Control) การแก้จำเป็นต้องอาศัยผู้ที่อยู่หน้างาน เพราะปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มีประมาณ 15% ของปัญหาในกระบวนการผลิต เช่น Defect 30% ลดลงได้จาก ผู้ปฎิบัติงาน 25%  เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้ 2% วัตถุดิบ 3%  เป็นต้น

UCL

 CL

LCL





จากแผนภูมิ ดังต่อไปนี้ เป็นกระบวนการที่อยู่ใน Control chart ช่วงเส้นปะสีส้ม จะเป็นกระบวนการที่อยู่ภายใต้การควบคุมทางสถิติ ซึ่งมีความผันแปรแบบธรรมชาติเท่านั้น

 


หากสนใจสามารถขอรายละเอียดเพื่ออบรมเพิ่มเติมในหลักสูตร การควบคุมกระบวนการทางสถิติ  (Statistical Process Control Technique ) วันพุธที่ 27 กรกฏาคม 2565 แบบ “ Hybrid Training “ Tel./Line no. 092-835 2953


 
 
เว็บสำเร็จรูป
×