หมวดหลักสูตร
Click ที่หลักสูตรลงทะเบียนได้ทันที )
ปฏิทินรายเดือน 2567
จัดซื้อ/นำเข้า-ส่งออก
(PS / PS - Import &Export)
ปฏิทินรายเดือน 2567
ระบบคุณภาพ-ผลิตภาพ-บุคคล
(QS-PI-HR)
ตารางอบรมปี 2567 (Download/Print**)
แผนที่โรงแรม (ใกล้ BTS)
ประวัติวิทยากร (บางส่วน)
แบบฟอร์มขอใบเสนอราคา
📢📣 รับสมัครพนักงาน
📌พนักงานขาย และการตลาด​ (Partime)​ 1​ ตำแหน่ง
- ​มีประสบการณ์การทำงาน 
หรือรางวัลผลงาน​ มีconnection
ที่ดี มีรางวัลการันตี

สนใจติดต่อ ☎️/
092-835-2953,092-775-5853
ผู้ชม
วันนี้ 210
เมื่อวาน 227
ทั้งหมด 288,251
ชมหน้าอื่นๆ
วันนี้ 403
เมื่อวาน 242
ทั้งหมด 327,230
การตระหนักถึงคุณภาพที่สามารถวัดผลอย่างเป็นรูปธรรม ( Being aware of the quality that can be measured concretely.)

บทความใหม่          

 การตระหนักถึงคุณภาพที่สามารถวัดผลอย่างเป็นรูปธรรม  ( Being aware of the quality that can be measured concretely.)

เขียนโดย : คุณรมณีย์ กองแก้ว บริษัท เอสเอสอาร์ ควอลิตี้ เซ็นเตอร์ (ไทยแลนด์) จำกัด

วันจันทร์ที่ 9 มกราคม พ.. 2563 ( Mobile : 092-835 2953, 092-775 5853 )

Email:  ssr.qualitycenter@gmail.com  Web: www.ssrqualitycenter.com

 

สวัสดีค่ะทุกท่าน วันที่ 9 เดือนนี้ก็ตรงกับวันพระ และเป็นวันที่ 9 วันแรกของปี 2563 ซึ่งตรงกับวันพฤหัสบดี ขอให้เป็น 9 แรกของของความโชคดี ความเจริญ ความมั่งคั่ง ความสำเร็จ และสิ่งเหล่านี้จะสมบูรณ์แบบได้จะขาดไม่ได้เลยซึ่งความมีจิตสำนึก ได้แก่ จิตสำนึกของบทบาทหน้าที่ ไม่ว่าจะเป็นหัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน จิตสำนึกถึงบทบาทการเป็นพ่อ การเป็นแม่ ที่ต้องคอยอบรมสั่งสอนบุตรให้เป็นคนดี ปฏิบัติดี พูดดี คิดดี และมีสติในการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งการมีจิตสำนึกไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อการทำงานเท่านั้น เราสามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้ตามบทบาทในชีวิตประจำวันได้เช่นกัน  บทความเดือนนี้ขอนำเสนอเรื่อง  ” การตระหนักถึงคุณภาพที่สามารถวัดผลอย่างเป็นรูปธรรม  ( Being aware of the quality that can be measured concretely.)

หลายท่านอาจจะเคยคิดกันว่าการตระหนักถึงคุณภาพสามารถวัดผลออกมาได้เป็นรูปธรรมประสิทธิภาพได้หรือไม่ ซึ่งในความคิดเห็นของดิฉัน มันไม่สามารถวัดผลออกมาเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจน แต่เราสามารถกำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ก่อให้เกิดจิตสำนึกในคุณภาพ ซึ่งจะขอยกตัวอย่างคร่าวๆดังต่อไปนี้

1.       การมีจิตสำนึกต่อการเป็นหัวหน้า สามารถกำหนดบทบาทหน้าที่การทำงานโดยใช้เป้าหมายที่องค์กรกำหนดความรับผิดชอบให้ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นต่อลูกน้อง หรือผู้อยู่ได้การบังคับบัญชา เช่นการสอนงานหน้างาน หรือ OJT  ก่อนการปฏิบัติงานทุกครั้ง เป็นต้น  การแสดงความรับผิดชอบเมื่อเกิดปัญหาจากการให้พนักงานใหม่ไปปฏิบัติงานโดยไม่ผ่านการอบรมตามเงื่อนไขที่องค์กรกำหนด

 

2.       การมีจิตสำนึกต่อการเป็นลูกน้อง หรือผู้อยู่ใต้บังคบบัญชา สามารถกำหนดบทบาทที่ลูกน้อง งกระทำต่อหัวหน้างาน เช่นการรายงานหัวหน้างาน เมื่อเกิดปัญหาต่อคุณภาพงานตามเงื่อนไขที่บริษัทฯกำหนด โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด 

3.       การมีจิตสำนึกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งมีทั้งเพื่อนร่วมงานในหน่วยงานเดียวกัน และต่างหน่วยงาน สามารถกำหนดบทบาทในการทำงานในหน่วยงานเดียวกันให้ชัดเจนเพื่อให้หลีกเลี่ยงการปะทะกัน เมื่อเกิดปัญหาขึ้น หรือการกำหนดเงื่อนการทำงานข้ามสายงาน หรือต่างหน่วยงาน โดยอาจใช้เป็นเอกสาร หรือลายลักอักษรที่เป็นมาตรฐานในการทำงาน ( Work instruction )

 

จากรายละเอียดข้างบนก็จำขอกล่าวคร่าวเพียงเท่านี้ หากสนใจสามารถอบรมเพิ่มเติมกับดิฉันได้เต็ม ๆ 1 วันในหลักสูตร   จิตสำนึกด้านคุณภาพ (Quality Awareness) วันอังคารที่ 21 มกราคม 2563 , วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์, วันพฤหัสที่ 21 พฤษภาคม, วันพฤหัสที่ 30 กรกฎาคม , วันอังคารที่ 22 กันยายน, วันพฤหัสที่ 12 พฤศจิกายน 2563  โรงแรม บูเลอวาร์ด กรุงเทพ (สุขุมวิท 5) ”

 

 

   รมณีย์  กองแก้ว

                                             ผู้เขียน

 

 

 

                       

สนใจหลักสูตรหรือบริการของเรา สามารถติดต่อได้ที่  :   

บริษัท เอสเอสอาร์ ควอลิตี้ เซ็นเตอร์ (ไทยแลนด์ ) จำกัด  (สำนักงานใหญ่)     29/266 หมู่ที่ 2 ตำบลคลองสาม อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี  12120 TEL : 02-102 1898 , 092-835 2953 , FAX : 02-569 6537 

E-mail : ssr.qualitycenter@gmail.com , Web. : www.ssrqualitycenter.com 

 
 
เว็บสำเร็จรูป
×